ถามตอบเพื่อคุณ

ข้อควรพิจารณาในการให้วัคซีนป้องกันโรคโคโรนาไวรัส 2019 สำหรับผู้ป่วยโรคหัวใจและหลอดเลือด

   

 

1 .ในกรณีที่ผู้ป่วยเพิ่งมีอาการหรืออาการยังไม่คงที่หรือยังมีอาการที่เป็นอันตรายต่อชีวิต (life-threatening) เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบชนิดเฉียบพลัน (acute coronary syndrome) หรือภาวะหัวใจล้เหลวชนิดเฉียบพลัน (acute decompensated heart failure) ให้รอจนกว่าอาการดีขึ้นและคงที่จึงจะฉีดวัคซีน ทั้งนี้ไม่มีข้อกำหนดเวลาที่ชัดเจน ให้แพทย์เป็นผู้พิจารณาเป็นราย ๆ ไป โดยอาจให้เมื่อผู้ป่วยมีอาการคงที่พร้อมที่จะจำหน่ายจากโรงพยาบาล หรือช่วงที่ติดตามการรักษาแบบผู้ป่วยนอก

 

2. ในกรณีที่ผู้ป่วยเพิ่งมีอาการหรืออาการยังไม่คงที่หรือยังมีอาการที่เป็นอันตรายต่อชีวิต (life-threatening) เช่น ผู้ป่วยที่มีอาการของโรคหลอดเลือดหัวใจตีบชนิดเฉียบพลัน (acute coronary syndrome) หรือภาวะหัวใจล้มเหลวชนิดเฉียบพลัน (acute decompensated heart failure) ให้รอจนกว่าอาการดีขึ้นและคงที่จึงจะฉีดวัคซีน ทั้งนี้ไม่มีข้อกำหนดเวลาที่ชัดเจน ให้แพทย์เป็นผู้พิจารณาเป็นราย ๆ ไป โดยอาจให้เมื่อผู้ป่วยมีอาการคงที่พร้อมที่จะจำหน่ายจากโรงพยาบาล หรือช่วงที่ติดตามการรักษาแบบผู้ป่วยนอก

 

3. ในกรณีที่รับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดวาร์ฟาริน ถ้าระดับ INR ที่น้อยกว่า upper limit of therapeutic range หรือน้อยกว่า 4 หรือรับประทานยาต้านการแข็งตัวของเลือดชนิดอื่น ๆ สามารถฉีดวัคซีนได้ หลังฉีดให้กดนานอย่างน้อย 5 นาที

 

แหล่งที่มาของข้อมูล:

  • สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยในพระบรมราชูปถัมภ์ ข้อควรพิจารณาการฉีดวัคซีน

 

 

    สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทย

    ในพระบรมราชูปถัมภ์

    ที่อยู่ : ชั้น 5 อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี

    ซอยศูนย์วิจัย ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ กทม. 10310

    E-mail : [email protected]

 

086278
Today
Yesterday
This Week
Last Week
This Month
Last Month
All_Days
712
644
2032
2446
7242
60799
86278

Your IP: 172.70.127.94
2024-04-16 23:00
  • สมาคมแพทย์โรคหัวใจแห่งประเทศไทยฯ ขอส่งความห่วงใยผ่าน น้องขวัญใจ น้องพอใจ และน้องสุขใจ ขอให้ทุกคนรอดพ้นจาก COVID-19